1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เข้ารับการฝึกอบรม
-
จบการศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตหรือเทียบเท่า
-
มีใบประกอบวิชาชีพจากสภาการพยาบาลที่ไม่หมดอายุ
-
มีประสบการณ์การทำงานด้านส่องกล้องทางเดินอาหารและตับ หรือหน่วยงานมีนโยบายเปิดให้บริการส่องกล้องทางเดินอาหารและตับ
-
มีสุขภาพแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี และสุกใส (ไม่ตั้งครรภ์ ไม่มีความผิดปกติทางด้านการได้ยิน ตาไม่บอดสี ไม่มีปัญหาทางด้านจิตเวชขั้นรุนแรง รวมถึงปัญหาทางด้านจิตเวชอื่นๆ ไม่มีโรคหรือความพิการที่เป็นอุปสรรคต่อการอบรมหรือการปฏิบัติงาน)
-
ผ่านการสัมภาษณ์ตามเกณฑ์
2. การสมัคร
สมัครทางอินเตอร์เน็ต https://forms.gle/VHMhVnpyMbDewkop8
3. การสัมภาษณ์
สัมภาษณ์ผ่านระบบออนไลน์ หลังจากสมัครและส่งเอกสารเข้าสู่ระบบ
4. กำหนดการ
รุ่นที่ |
รับสมัคร |
ประกาศรายชื่อ |
สัมภาษณ์ |
ประกาศรายชื่อ |
การชำระเงิน |
ระยะเวลา การฝึกอบรม |
1 |
4-20 พ.ย. 67 |
26 พ.ย. 67 |
3 ธ.ค. 67 |
4 ธ.ค. 67 |
ภายใน |
2 ม.ค. – 30 เม.ย. 68 |
2 |
2-31 ม.ค. 68 |
4 ก.พ. 68 |
11 ก.พ. 68 |
12 ก.พ. 68 |
ภายใน |
1 พ.ค. – 30 ส.ค. 68 |
3 |
1-31 พ.ค. 68 |
3 มิ.ย. 68 |
10 มิ.ย. 68 |
11 มิ.ย. 68 |
ภายใน |
2 ก.ย. – 27 ธ.ค. 68 |
5. หลักฐานการสมัคร
-
สำเนาประกาศนียบัตร หรือ ปริญญาบัตรตามคุณวุฒิของผู้สมัคร (ใบรับรองวุฒิไม่สามารถใช้แทนได้)
-
สำเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้น 1 จากสภาการพยาบาลที่ไม่หมดอายุ (นับถึงวันสุดท้ายของการรับสมัคร)
-
ผลตรวจไวรัสตับอักเสบบี และโรคสุกใส (ไม่เกิน 6 เดือน)
-
หนังสือรับรองของผู้บังคับบัญชา (NurseNKC001)
-
หนังสือรับรองการปฏิบัติงานจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น (NurseNKC002)
6. อัตราค่าลงทะเบียน
-
25,000 บาท/คน
-
ชำระเงินค่าลงทะเบียน เข้าบัญชี คณะแพทยศาสตร์ มอ. (การประชุม) เลขที่บัญชี 565-2-64561-2 บัญชีออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-
ส่งหลักฐานการชำระเงินและข้อมูลการออกใบเสร็จมาที่อีเมล์ sirinda.p@psu.ac.th
7. การสำเร็จการอบรม
- ผู้เข้ารับการอบรม ต้องมีระยะเวลาการฝึกอบรมภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ รวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
- ผู้สำเร็จการอบรมจะได้หน่วยคะแนนการศึกษาต่อเนื่องสาขาพยาบาลศาสตร์ (CNEU) 50 หน่วย
8. เนื้อหาหลักสูตร
- ภาคบรรยาย เป็นการสอนบรรยายเกี่ยวกับหลักการ เทคนิควิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ โดยทีมแพทย์ และพยาบาล
เนื้อหา |
ผู้บรรยาย |
ความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับตัวกล้อง ตัวประมวลผล และแหล่งกำเนิดแสงของกล้อง ชนิดต่าง ๆ(Introduction to Endoscopy) |
รศ.นพ.บัญชา โอวาทฬารพร (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
Endoscopic Description |
รศ.นพ.บัญชา โอวาทฬารพร (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
Electrosurgery Machine Principles |
รศ.นพ.บัญชา โอวาทฬารพร (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
ข้อบ่งชี้ในการทำหัตถการ EGD, Colonoscopy |
นพ.สุริยา กีรติชนานนท์ (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
ข้อบ่งชี้ในการทำหัตถการ Therapeutic option in GI bleeding |
นพ.ธนาวิน แซ่ว่อง (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
ข้อบ่งชี้ในการขยายทางเดินอาหารและใส่สาย PEG/NJ และการใส่ท่อโลหะของหลอดอาหาร |
นพ.ธนพล เยาว์มณีรัตน์ (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
ERCP for Nurse Assistant part I |
ผศ.นพ.ศิริบูรณ์ อัตศรัณย์ (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
ERCP for Nurse Assistant part II |
ผศ.นพ.ศิริบูรณ์ อัตศรัณย์ (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
ข้อบ่งชี้ในการทำหัตถการ EUS และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำหัตถการ Therapeutic EUS Intervention, RFA |
พญ.นิศา เนตินาถสุนทร(โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
ข้อบ่งชี้การทำหัตถการส่องกล้องลำไส้เล็ก โดยใช้ balloon assisted and video capsule endoscopy |
นพ.จักรสิน โสตถิสุพร (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
Sedation in Endoscopy Unit |
อ.นพ.ปัณณวิชญ์ เบญจวลีย์มาศ (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในการวางแผนการทำหัตถการ และการจำหน่วยผู้ป่วยหลังทำหัตถการ |
พว.นิตยา พรหมเดช (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
การเตรียมความพร้อมในการช่วยแพทย์ทำหัตถการส่องกล้อง EGD, Colonoscopy, EUS, ERCP |
พว.เฉลิมขวัญ แก้วกาญจน์ (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในการทำหัตถการส่องกล้อง GI bleeding และการใช้เครื่องจี้ตัด |
พว.สุพิศ หนูฤทธิ์ (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในหัตถการขยายทางเดินอาหาร Savary Dilatation, Achalasia dilatation, Balloon Dilatation, Esophageal stent |
พว.ทัศนีย์ ตันธนา (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในทำหัตถการใส่สายให้อาหารทางหน้าท้อง Percutaneous Endoscopic Gastrostomy (PEG), NJ |
พว.พิชญา มหานิล (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
Colonic polyps, Classification, Indication ในการทำ Polypectomy |
ผศ.นพ.ธนวัต ภัทรพันธกุล (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในหัตถการ Polypectomy |
พว.จารุวรรณ จันทร์มิด (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในหัตถการ ERCP part I |
พว.วราภรณ์ จารุพันธุ์ (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในหัตถการ ERCP part II |
พว.วราภรณ์ จารุพันธ์ (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในหัตถการส่องกล้อง Intervention EUS |
พว.พรวิสาข์ ปัญจรัตนากร (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
บทบาทพยาบาลในหัตถการ Intervention EUS |
พว.ฐิติพร ศิริพันธุ์ (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์)
|
บทบาทพยาบาลในหัตถการส่องกล้องลำไส้เล็ก โดยใช้ Balloon assisted and Video capsule endoscopy |
พว.มนัสวี ปลอดเปลี่ยว (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
Infection control in GI unit |
ศ.นพ.ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล (โรงพยาบาลสงขลาครินทร์) |
มาตรการการป้องกันอันตรายของรังสี |
อ.สมบัติ ลีลาเกียรติไพบูลย์ (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
Endoscopy Reprocessing |
พว.เรือนขวัญ พงษ์ประยูร (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
การทำวิธีการประเมิน ควบคุม และพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพของหน่วยส่องกล้อง |
พว.โสภา บุญวิริยะ (โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) |
- ภาคปฏิบัติ จัดให้มีการหมุนเวียนเข้าไปช่วยทำหัตถการการส่องกล้องระบบทางเดินอาหารส่วนต้น 4 สัปดาห์ การส่องกล้อง ลำไส้ใหญ่ 4 สัปดาห์ เข้าไปช่วยทำหัตถการ ERCP 7 สัปดาห์ และช่วย EUS 1 สัปดาห์ โดยที่จะได้รับการฝึกฝนตามโรคที่ ระบุไว้ในภาคบรรยาย
- หนังสือโครงการฝึกอบรมพยาบาลช่วยส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร
- หนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ
- หนังสือรับรองของผู้บังคับบัญชา (NurseNKC001)
- หนังสือรับรองการปฏิบัติงานจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น (NurseNKC002)